-จากอาการที่แสดงออกมานั้นอาจนำไปสู่ความเข้าใจผิดได้
ครูไม่ควรตั้งชื่อหรือระบุประเภทเด็ก
-เกิดผลเสียมากกว่าผลดี
-ชื่อเปรียบเสมือนตราประทับตัวเด็กตลอดไป
-เด็กจะกลายเป็นเช่นนั้นจริงๆ
ครูไม่ควรบอกพ่อแม่ว่าเด็กมีบางอย่างผิดปกติ
-พ่อแม่ของเด็กพิเศษ
มักทราบดีว่าลูกของเขามีปัญหา
-พ่อแม่ไม่ต้องการให้ครูมาย้ำในสิ่งที่เขารู้อยู่แล้ว
-ครูควรพูดในสิ่งที่เป็นความคาดหวังในด้านบวก
แต่ต้องไม่ให้เกิดความหวังผิดๆ
-ครูควรรายงานผู้ปกครองว่าเด็กทำอะไรได้บ้าง
เท่ากับเป็นการบอกว่าเด็กทำอะไรไม่ได้
-ครูช่วยให้ผู้ปกครองมีความหวังและเห็นแนวทางที่จะช่วยให้เด็กพัฒนา
ครูทำอะไรบ้าง
-ครูสามารถชี้ให้เห็นถึงพฤติกรรมของเด็กในเรื่องที่เกี่ยวกับพัฒนาการต่างๆ
-ให้ข้อแนะนำในการหาบุคลากรที่เหมาะสมในการประเมินผลหรือวินิจฉัย
-สังเกตเด็กอย่างมีระบบ
-จดบันทึกพฤติกรรมเด็กเป็นช่วงๆ
สังเกตอย่างมีระบบ
-ไม่มีใครสามารถสังเกตอย่างมีระบบได้ดีกว่าครู
-ครูเห็นเด็กในสถานการณ์ต่างๆ
ช่วงเวลายาวนานกว่า
-ต่างจากแพทย์ นักจิตวิทยา นักคลินิก
มักมุ่งความสนใจอยู่ที่ปัญหา
*ครูควรมองเด็กทั้งด้านดีและไม่ดีเพราะครูเป็นผู้ที่อยู่กับเด็กนานที่สุด
การตรวจสอบ
-จะทราบว่าเด็กมีพฤติกรรมอย่างไร
-เป็นแนวทางสำคัญที่ทำให้ครูและพ่อแม่เข้าใจเด็กดีขึ้น
-บอกได้ว่าเรื่องใดบ้างที่เด็กต้องการความ
ข้อควรระวังในการปฏิบัติ
-ครูต้องไวต่อความรู้สึกและตัดสินใจล่วงหน้าได้
-ประเมินให้น้ำหนักความสำคัญของเรื่องต่างๆได้
* 1.ลำดับความสำคัญ 2.แก้ไขให้ตรงจุด
การบันทึกการสังเกต
การนับอย่างง่ายๆ
-นับจำนวนครั้งของการเกิดพฤติกรรม
-กี่ครั้งในแต่ละวัน กี่ครั้งในแต่ละชั่วโมง
-ระยะเวลาในการเกิดพฤติกรรม
การบันทึกต่อเนื่อง
-ให้รายละเอียดได้มาก
-เขียนทุกอย่างที่เด็กทำในช่วงเวลาหนึ่ง
หรือช่วงกิจกรรมหนึ่ง
-โดยไม่ต้องเข้าไปแนะนำช่วยเหลือ
การบันทึกไม่ต่อเนื่อง
-บันทึกลงบัตรเล็กๆ
-เป็นการบันทึกสั้นๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็กแต่ละคนในช่วงเวลาหนึ่ง
การเกิดพฤติกรรมบางอย่างมากเกินไป
-ควรเอาใจใส่ถึงระดับความมากน้อยของความบกพร่อง
มากกว่าชนิดองความบกพร่อง
-พฤติกรรมไม่เหมาะสมที่พบได้ในเด็กทุกคน
ไม่ควรจัดเป็นสิ่งผิดปกติ
การตัดสินใจ
-ครูต้องตัดสินใจด้วยความระมัดระวัง
-พฤติกรรมของเด็กที่เกิดขึ้น
ไปขัดขวางความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กหรือไม่
ต่อมาอาจารย์ให้ร้องเพลง 1.เพลงคือ.....
เพลง ฝึกกายบริหาร
ฝึกกายบริหารร่างกายแข็งแรง
ฝึกกายบริหารร่างกายแข็งแรง
รูปทรงสมส่วนแคล่วคล่องว่องไว
รูปทรงสมส่วนแคล่วคล่องว่องไว
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ในการเรียนการสอนวิชานี้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆได้ และสามารถนำไปใช้ในอนาคตได้ เพราะในอนาคตเราอาจจะได้เจอกับเด็กพิเศษจริงก็ได้ และนำเพลงมาใช้ในการเรียนการสอนครั้งต่อๆไป
ประเมินการเรียนการสอน
ตนเอง แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอน และตั้งใจจดบันทึกเนื้อหาสำคัญๆ เพื่อนำกลับมาทำBloggerและจะเก็ษความรู้ที่ได้รับไปใช้ในอนาคตค่ะ
เพื่อน เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอน ช่วยกันตอบคำถามอาจารย์มีการจดบันทึก มีคุยบ้างเล็กน้อย ตั้งใจวาดภาพดอกทานตะวัน และร้องเพลง
อาจารย์ แต่งกายเรีบยร้อบ พูดจาไพเราะ สอนสนุก มีการเตรียมการสอนที่ดี มีความละเอียยดอ่อนในการสอน มีการทวนเพลงที่สอน และมีการอธิบายหัวข้อบทบาทครูปฐมวัยในห้องเรียนรวมได้ชัดเจนมากค่ะ